วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2561
จับลำดับเสนองานกลุ่มวิธีการอบรมเลี้ยงดูเด็ก 4วิธี
วิธีที่1การอบรมเลี้ยงดูแบบความรักความอบอุ่นแบบประชาธิปไตย
วิธีที่2การอบรมเลี้ยงดูแบบคาดหวังเอากับเด็ก
วิธีที่3การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย
บทที่
5 การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
รูปแบบของการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
การอบรมเลี้ยงดูเด็ก หมายถึงการที่บิดามารดาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องในการเลี้ยงดูเด็กปฏิบัติต่อเด็กที่ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการทั้งด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาซึ่งผู้อบรมต้องอบรมด้วยความรัก ความเข้าใจและปรับวิธีการอบรมเลี้ยงดูเด็กอย่างเหมาะสมให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมเพื่อให้เด็กเติบโตเป็นคนดี
ความสำคัญของพ่อแม่ในการอบรมเลี้ยงดู
คุณภาพและประสิทธิภาพของมนุษย์ขึ้นอยู่กับพัฒนาการของแต่ละคนตามวัยต่างๆโดยเฉพาะบุคคลในวัยทำงานนั้นจะมีคุณภาพและประสิทธิภาพเท่าใดก็ขึ้นอยู่กับการเรียนรู้ การฝึกฝนและประสบการณ์ที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่แรกเกิดถึงวัยปัจจุบัน การเรียนรู้ครั้งแรกของมนุษย์ขึ้นอยู่กับการเลี้ยงดูของพ่อแม่โดยถือว่าพ่อแม่คือครูคนแรกของลูก
ความจำเป็นที่ต้องมีพ่อ
1.เด็กต้องเห็นแบบอย่างของผู้ใหญ่ชาย
2.พ่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้ลูกชาย
3.เด็กหญิงจะได้รู้จักบทบาทของผู้ชาย
4.พ่อช่วยปลูกฝังลักษณะทั่วไปให้แก่ลูกคือความเข้มแข็งบึกบึน
5.พ่อที่สนิทสนมกับลูกชายมีโอกาสที่จะพูดคุยกันอย่างลูกผู้ชาย
6.ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างลูกชายกับพ่อ จะช่วยให้ลูกได้เรียนรู้วิธีผูกมิตรไมตรีกับชายอื่นที่เขาต้องสมาคมด้วย
7.ความเข้มแข็งเป็นหัวหน้าครอบครัวเป็นผู้นำในเรื่องต่างๆ
ความจำเป็นที่ต้องมีแม่
1.คอยดูแลลูกให้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน
2.ช่วยปลูกฝังนิสัยการกินที่ดี
3.สอนให้รักษาความสะอาด
4.คอยฝึกฝนกิริยามารยาทที่ดีงาม
5.สอนให้ลูกรู้จักเก็บรักษาสมบัติฝึกความเป็นระเบียบเรียบร้อย
6.เป็นแบบอย่างความเป็นผู้หญิงแก่ลูก
7.ลูกสาวจะได้เรียนรู้ว่าสิ่งใดมีค่าสำหรับผู้หญิงจากแม่และต้องพยายามหามาให้เป็นของตน
บทบาทและหน้าที่ของพ่อแม่ในการอบรมเลี้ยงดู
1.มีเจตคติที่ดีต่อเด็ก
2.สนองความต้องการของเด็กในทุกด้าน
3.ถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณีให้กับเด็ก
4.ปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อบุคคลและสิ่งต่างๆ
5.ส่งเสริมความสนใจของเด็ก
6.ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญา
7.สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้แก่เด็ก
8.ทำตัวเป็นครูของลูก 9.การให้แรงเสริมและการลงโทษ
ความสำคัญของพ่อแม่ในการอบรมเลี้ยงดู
คุณภาพและประสิทธิภาพของมนุษย์ขึ้นอยู่กับพัฒนาการของแต่ละคนตามวัยต่างๆโดยเฉพาะบุคคลในวัยทำงานนั้นจะมีคุณภาพและประสิทธิภาพเท่าใดก็ขึ้นอยู่กับการเรียนรู้ การฝึกฝนและประสบการณ์ที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่แรกเกิดถึงวัยปัจจุบัน การเรียนรู้ครั้งแรกของมนุษย์ขึ้นอยู่กับการเลี้ยงดูของพ่อแม่โดยถือว่าพ่อแม่คือครูคนแรกของลูก
ความจำเป็นที่ต้องมีพ่อ
1.เด็กต้องเห็นแบบอย่างของผู้ใหญ่ชาย
2.พ่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้ลูกชาย
3.เด็กหญิงจะได้รู้จักบทบาทของผู้ชาย
4.พ่อช่วยปลูกฝังลักษณะทั่วไปให้แก่ลูกคือความเข้มแข็งบึกบึน
5.พ่อที่สนิทสนมกับลูกชายมีโอกาสที่จะพูดคุยกันอย่างลูกผู้ชาย
6.ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างลูกชายกับพ่อ จะช่วยให้ลูกได้เรียนรู้วิธีผูกมิตรไมตรีกับชายอื่นที่เขาต้องสมาคมด้วย
7.ความเข้มแข็งเป็นหัวหน้าครอบครัวเป็นผู้นำในเรื่องต่างๆ
ความจำเป็นที่ต้องมีแม่
1.คอยดูแลลูกให้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน
2.ช่วยปลูกฝังนิสัยการกินที่ดี
3.สอนให้รักษาความสะอาด
4.คอยฝึกฝนกิริยามารยาทที่ดีงาม
5.สอนให้ลูกรู้จักเก็บรักษาสมบัติฝึกความเป็นระเบียบเรียบร้อย
6.เป็นแบบอย่างความเป็นผู้หญิงแก่ลูก
7.ลูกสาวจะได้เรียนรู้ว่าสิ่งใดมีค่าสำหรับผู้หญิงจากแม่และต้องพยายามหามาให้เป็นของตน
บทบาทและหน้าที่ของพ่อแม่ในการอบรมเลี้ยงดู
1.มีเจตคติที่ดีต่อเด็ก
2.สนองความต้องการของเด็กในทุกด้าน
3.ถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณีให้กับเด็ก
4.ปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อบุคคลและสิ่งต่างๆ
5.ส่งเสริมความสนใจของเด็ก
6.ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญา
7.สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้แก่เด็ก
8.ทำตัวเป็นครูของลูก 9.การให้แรงเสริมและการลงโทษ
อิทธิพลของการเลี้ยงดูที่มีผลต่อพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยคำตำหนิ เขาก็จะเป็นคนล้มเหลว
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยความก้าวร้าว เขาก็จะเป็นคนที่แข็งกร้าว
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยคำเย้ยหยัน เขาก็จะเป็นคนขลาดอาย
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยความละอาย เขาก็จะเป็นขี้หวาดระแวง
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยความมานะ เขาก็จะเป็นคนที่อดทน
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยความชื่นชม เขาก็จะเป็นคนซึ้มในคุณค่า
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยการให้กำลังใจ เขาก็จะเป็นคนที่เชื่อมั่นในตน
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยความยุติธรรม เขาก็จะเป็นคนที่รักความยุติธรรม
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยความรักความอบอุ่น เขาก็จะเป็นคนมีศรัทธาในชีวิต
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยการยอมรับ เขาก็จะเป็นคนที่พอใจในตนเอง
ถ้าเด็กถูกเลี้ยงด้วยความเป็นมิตร เขาก็จะเป็นเด็กที่เต็มไปด้วยความรัก และเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์
ความสำคัญและความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่และลูก
หมายถึง ความรู้สึกที่พ่อแม่มีต่อลูกและความรู้สึกที่ลูกมีต่อพ่อแม่นั่นเอง เด็กแต่ละคนอาจจะมีความรู้สึกต่อพ่อแม่ต่างกันเช่น มีคำกล่าวว่าลูกสาวมักจะใกล้ชิดสนิทสนมกับพ่อมากกว่าแม่หรือลูกชายมักจะใกล้ชิดสนิทสนมกับแม่มากกว่าพ่อ เป็นต้นนอกจากนี้ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่และลูกมักจะขึ้นอยู่กับเจตคติของพ่อแม่ที่มีต่อลูกทั้งนี้เพราะพ่อแม่มีเจตคติต่อลูกอย่างไรก็จะปฏิบัติต่อลูกในทำนองนั้น
เจตคติของพ่อแม่ที่มีต่อลูก 6แบบ
1.พ่อแม่ที่รักและคอยช่วยเหลือเอาใจใส่ลูกมากเกินไป
2.พ่อแม่เอาใจลูกเกินไป
3.พ่อแม่ที่ทอดทิ้งเด็ก
4.พ่อแม่ที่ยอมรับเด็ก
5.พ่อแม่ที่ชอบบังคับลูก
6.พ่อแม่ที่ยอมจำนนต่อลูก
การอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารก
เด็กวัยทารก(lnfancy)นับตั้งแต่คลอดจากครรภ์มารดาไปจนถึง2ปีเป็นวัยที่สำคัญที่สุดในการวางรากฐานสำคัญต่างๆของชีวิตในทุกๆด้านเป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดบิดามารดาผู้เลี้ยงดูจึงควรใช้ระยะเวลานี้เพื่อส่งเสริมให้มีคุณภาพยิ่งขึ้นโดยตอบสนองความต้องการจำเป็นต่างๆเพื่อให้ทารกมีพัฒนาการที่ดีทั้งทางกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา
2.การสระผม 1.เหล็ก
3.การเปลี่ยนผ้าอ้อม 2.ไอโอดีน
4.เสื้อผ้าสวมใส่ควรสะอาด 3.แคลเซียม
5.ปากและฟัน 4.สังกะสี
การเลี้ยงทารกด้วยนมแม่ นมแม่เป็นนมที่เหมาะที่สุดในการเลี้ยงดูทารกในระยะแรกของชีวิตเพื่อการเจริญเติบโตและการสร้างภูมิต้านทานโรคด้วยเหตุผลต่างๆต่อไปนี้
1.คุณค่าทางโภชนาการของนมแม่ นมแม่แบ่งออกได้เป็น2ระยะ
-น้ำเหลือง เป็นนมที่ออกมาในระยะ2-4วันแรกหลังภายใน12-24ชั่วโมง -นำ้นมแม่หลังคลอด 2-4วัน
2.ลักษณะที่ดีของนมแม่
2.1นมแม่มีสารอาหารครบถ้วน 2.2นมแม่สะดวกไม่ต้องเสียเวลาชงนม
2.3นมแม่สะอาดและปลอดภัย 2.4นมแม่มีสารป้องกันการติดเชื้อ
2.5นมแม่ลดอัตราการเกิดโรคภูมิแพ้ 2.6นมแม่ไม่ทำให้ลูกอ้วน
2.7นมแม่มีผลดีต่อจิตใจ 2.8นมแม่มีผลดีต่อแม่ทำให้มดลูกแม่เข้าอู่เร็ว
3.หลักการในนมทารกด้วยนมแม่
3.1การเตรียมตัวของแม่ก่อนคลอด ควรมีการออกกำลังกายและเตรียมใจไว้ด้วยการเตรียมหัวนม
3.2การให้นมลูก อาจให้ทุก 3-4ชั่วโมงหรือตามความต้องการของลูกก็ได้
4.การให้นมผสม การเลี้ยงลูกด้วยนมผสมก็เป็นเรื่องที่จำเป็นอย่างมากในครอบครัวปัจจุบันที่แม่ต้องออกไปทำงานนอกบ้านหรือไม่มีนำ้นมหรือเวลาในการเลี้ยงดูลูก แม่จึงควรมีความรู้การให็นมผสม
4.1ชนิดของนำ้ผสม นมผงคล้ายนมมารดา นมผงครบส่วน นมข้นจืด นมสำหรับเด็กแพ้นมวัว
4.2ปริมาณนมผสมสำหรับทารก
4.3วิธีให้นมผสมหรือนมขวด ไม่ควรใช้ผ้าหรือหมอนรองหนุนขวดให้เด็กทารกนอนดูดได้
4.4การชงนม สิ่งที่ต้องระวังเป็นพิเศษคือ ความสะอาด นมที่ชงมื้อต่อมื้อ
4.5การทำความสะอาดขวดนมและหัวนม สามารถทำได้โดยการนำขวดนมทั้งชุดไปต้ม
ปัญหาเด็กวัยทารก
ปัญหาจากการร้อง ปัญหาเกี่ยวกับการนอน ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ปัญหาเกี่ยวกับผิวหนัง
ปัญหาเกี่ยวกับปากและนัยน์ตา และปัญหาเกี่ยวกับระบบหายใจ
การดูแลสุขภาพ การดูแลด้านโภชนาการ
1.การอาบน้ำ ความต้องการอาหารของทารก โปรตีน พลังงาน วิตามิน เกลือแร่2.การสระผม 1.เหล็ก
3.การเปลี่ยนผ้าอ้อม 2.ไอโอดีน
4.เสื้อผ้าสวมใส่ควรสะอาด 3.แคลเซียม
5.ปากและฟัน 4.สังกะสี
การเลี้ยงทารกด้วยนมแม่ นมแม่เป็นนมที่เหมาะที่สุดในการเลี้ยงดูทารกในระยะแรกของชีวิตเพื่อการเจริญเติบโตและการสร้างภูมิต้านทานโรคด้วยเหตุผลต่างๆต่อไปนี้
1.คุณค่าทางโภชนาการของนมแม่ นมแม่แบ่งออกได้เป็น2ระยะ
-น้ำเหลือง เป็นนมที่ออกมาในระยะ2-4วันแรกหลังภายใน12-24ชั่วโมง -นำ้นมแม่หลังคลอด 2-4วัน
2.ลักษณะที่ดีของนมแม่
2.1นมแม่มีสารอาหารครบถ้วน 2.2นมแม่สะดวกไม่ต้องเสียเวลาชงนม
2.3นมแม่สะอาดและปลอดภัย 2.4นมแม่มีสารป้องกันการติดเชื้อ
2.5นมแม่ลดอัตราการเกิดโรคภูมิแพ้ 2.6นมแม่ไม่ทำให้ลูกอ้วน
2.7นมแม่มีผลดีต่อจิตใจ 2.8นมแม่มีผลดีต่อแม่ทำให้มดลูกแม่เข้าอู่เร็ว
3.หลักการในนมทารกด้วยนมแม่
3.1การเตรียมตัวของแม่ก่อนคลอด ควรมีการออกกำลังกายและเตรียมใจไว้ด้วยการเตรียมหัวนม
3.2การให้นมลูก อาจให้ทุก 3-4ชั่วโมงหรือตามความต้องการของลูกก็ได้
4.การให้นมผสม การเลี้ยงลูกด้วยนมผสมก็เป็นเรื่องที่จำเป็นอย่างมากในครอบครัวปัจจุบันที่แม่ต้องออกไปทำงานนอกบ้านหรือไม่มีนำ้นมหรือเวลาในการเลี้ยงดูลูก แม่จึงควรมีความรู้การให็นมผสม
4.1ชนิดของนำ้ผสม นมผงคล้ายนมมารดา นมผงครบส่วน นมข้นจืด นมสำหรับเด็กแพ้นมวัว
4.2ปริมาณนมผสมสำหรับทารก
4.3วิธีให้นมผสมหรือนมขวด ไม่ควรใช้ผ้าหรือหมอนรองหนุนขวดให้เด็กทารกนอนดูดได้
4.4การชงนม สิ่งที่ต้องระวังเป็นพิเศษคือ ความสะอาด นมที่ชงมื้อต่อมื้อ
4.5การทำความสะอาดขวดนมและหัวนม สามารถทำได้โดยการนำขวดนมทั้งชุดไปต้ม
ปัญหาเด็กวัยทารก
ปัญหาจากการร้อง ปัญหาเกี่ยวกับการนอน ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ปัญหาเกี่ยวกับผิวหนัง
ปัญหาเกี่ยวกับปากและนัยน์ตา และปัญหาเกี่ยวกับระบบหายใจ
การอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยก่อนเรียน
เด็กวัยก่อนเรียน(preschool child)หรือเด็กวัยตอนต้น(early childhood)มีอายุ2-5ปีเด็กวัยก่อนเรียนเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของชีวิตเพราะเป็นวัยทองของการวางรากฐานบุคลิกภาพของมนุษย์ระยะนี้เป็นระยะที่เกิดการเรียนรู้มากที่สุดในชีวิต ช่วงพัฒนาการที่สำคัญที่สุดที่จะสร้างบุคลิกภาพให้แก่เด็ก เด็กจะเป็นคนอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับการเลี้ยงดูในวัยนี้เป็นสำคัญ
การสร้างระเบียบวินัย มีหลักสำคัญ4ประการ
1.เด็กต้องการประพฤติในสิ่งที่ดีและขจัดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา
2.เด็กต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความพึ่งพอใจกับการกระทำดีและไม่พึงพอใจกับการกระทำที่ไม่ดี และหลีกเลี่ยงการกระทำนั้น
3.เด็กต้องการทำความดีจนกระทั่งเกิดความเคยชินหรือเกิดเป็นนิสัยโดยไม่ต้องมีใครแนะนำ
4.เด็กต้องเรียนรู้ถึงการเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ดีไม่พึงปรารถนาเป็นพฤติกรรมที่ดีที่พึงปรารถนาของสังคม
การฝึกวินัย นักจิตวิทยาได้แยกการฝึกวินัยออกเป็น 2ประเภทใหญ่ๆ
การฝึกวินัยโดยใช้ความรักเป็นตัวนำ
การฝึกวินัยโดยใช้วัตถุเป็นตัวนำ
การวางกฎเกณฑ์
การช่วยให้เด็กรู้จักบังคับตนเอง
1.สร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูก 2.ให้อิสรภาพแก่เด็ก
3.ไม่มอบความรับผิดชอบแก่เด็กจนเกินกำลัง 4.ช่วยให้เด็กเรียนรู้สิ่งต่างๆที่ควรกระทำ
5.อธิบายคำถามต่างๆที่เด็กสนใจ 6.มีความนับถือในตัวเด็ก
7.ยกย่องชมเชยเด็กในโอกาสอันควร 8.อธิบายเหตุผลต่างๆให้เด็กก่อนที่จะให้ทำตาม
9.มีความคงเส้นคงวา
การปฏิบัติตนของพ่อแม่ในการฝึกวินัย
1.สร้างความศรัทธาให้แก่ลูกเสียก่อน 2.จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดี
3.ใช้อำนาจแบบอ่อนโยน 4.ไม่ใช้อำนาจอย่างไร้เหตุผล
5.ออกคำสั่งในรูปการชักชวน 6.ไม่ควรขัดแย้งกันเองให้ลูกเห็น
7.ต้องตัดสินปัญหาร่วมกันได้ 8.ไม่ควรให้เด็กทำอะไรเมื่อเค้าไม่พร้อม
9.ควรส่งเสริมให้รู้จักตัดสินในความคิด เมื่อลูกเริ่มรู้จักคิด 10.ให้เด็กได้เล่นกับเพื่อนรุ่นเดียวกัน
11.เพิ่มความเชื่อมั่นในตัวเองให้กับลูก
การฝึกลักษณะนิสัยที่ดี
1.การรับประทานอาหาร
2.การฝึกการขับถ่าย
3.การฝึกนิสัยการนอน
4.การฝึกนิสัยการอาบนำ้แต่งตัว
บทบาทของพ่อแม่ในการจัดสภาพแวดล้อม
1.จัดสภาพแวดล้อมภายในบ้านให้ร่มรื่น สุขสงบ อบอุ่นและปลอดภัย
2.สร้างสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเด็ก ให้เด็กสามารถดูดซึมค่านิยมที่ต้องการปลูกฝังเอง
3.จัดให้เด็กได้ใกล้ชิดกับบุคคลแวดล้อมที่เป็นตัวอย่างที่ดี
4.จัดโอกาสให้เด็กได้ศึกษาหาประสบการณ์จากสถานที่สภาพแวดล้อมใกล้ๆตัว
5.แสวงหาแบบอย่างวัฒนธรรมที่ดีงามให้เด็ก
6.เสนอเหตุการณ์หรือเรื่องราวปัญหาที่แวดล้อมเด็กที่เด็กสนใจ นำมาสนทนากัน
การเลียนแบบของเด็กวัยก่อนเรียน แบ่งออกได้เป็น3 ลักษณะใหญ่ๆ
1.การเลียนแบบบทบาททางเพศ
2.การเลียนแบบส่วนตัวที่ไม่ใช่บทบาททางเพศ
3.การเลียนแบบกับการพัฒนาศีลธรรม
การสอนเรื่องเพศ
1.ควรทำแต่ยังเล็กโดยเริ่มจากให้เด็กทราบถึงความแตกต่างระหว่างร่างกายของตนเองกับเพศตรงข้าม
2.ผู้ใหญ่ควรฟังสิ่งที่เด็กถาม
3.คอยดูแลในเรื่องความเป็นอยู่หลับนอนของเด็กแต่ละคน
4.หากิจกรรมที่ให้เด็กมีเพื่อนหรืออยู่ใกล้ชิดกับพ่อแม่หรือผู้ใหญ่
5.เมื่อเด็กเกิดความสนใจหรืออยากรู้อยากเห็น ไม่ควรมีการลงโทษใดๆเพราะจะทำให้เกิดความกังวลหรือรู้สึกผิด
6.พ่อแม่ก็ควรจะพูดกับเด็กในเรื่องการเปลี่ยนแปลงเมื่อร่างกายโตขึ้น
การตอบคำถามเรื่องเพศ
เรื่องเพศเป็นเรื่องที่ควรอธิบายให้ทราบแต่อธิบายโดยใช้ข้อความสั้นๆวิธีตอบคำถามที่ดีที่สุด เราควรถามความเข้าใจของเด็กก่อนว่า เขาเข้าใจว่าอย่างไรก่อนให้คำตอบ นั้นอาจทำให้เด็กพอใจในช่วงเวลาสั้นๆเด็กอาจจะถามแบบเดิมอีก เราก็ควรให้รายละเอียดมากขึ้นกว่าเดิมอีก
ปัญหาของเด็กก่อนวัยเรียน
1.ปัญหาด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต สาเหตุของปัญหาเกี่ยวข้องกับครอบครัวคือแม่ไม่นิยมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พ่อแม่เลี้ยงดูเด็กอย่างทารุณ ขาดคุณธรรมและจริยธรรม
2.ปัญหาด้านโภชนาการ สาเหตุของปัญหาเกี่ยวข้องกับครอบครัวคือ แม่ขาดความรู้ด้านโภชนาการ นอกจากนี้เกิดจากพ่อแม่ขาดความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับอาหาร
3.ปัญหาด้านสติปัญญาและความสามารถพื้นฐาน สาเหตุของปัญหาคือ พ่อแม่ขาดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็ก
4.ปัญหาด้านสังคม วัฒนธรรมและจริยธรรม สาเหตุของปัญหาเกี่ยวข้องกับครอบครัวคือ เด็กเป็นบุตรนอกสมรสและเกิดจากการตั้งครรภ์ที่พ่อแม่ไม่พึงปรารถนา พ่อแม่ขาดการศึกษาและขาดความรับผิดชอบครอบครัวแตกแยก
บรรยากาศการเรียนการสอน
สิ่งที่ได้รับในการเรียน
เนื้อหาที่อาจารย์ได้บรรยายมีเนื้อหาที่เยอะแต่เรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย
สอนได้ตรงประเด็ด ในการให้บทบาทสำคัญที่พ่อแม่ควรอบรมเลี้ยงดูเด็กทารก
และเลี้ยงดูเด็กวัยก่อนเรียน
ประเมินตนเอง ตรงต่อเวลาเข้าเรียน มีความตั้งใจต่อการเรียน ทำความเข้าใจได้ง่าย มีใจจดจ่อต่อสิ่งที่อาจารย์อธิบาย
ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังอาจารย์สอนเรียนรู้พร้อมถาม-ตอบต่อกัน มีส่วนร่วมและแสดงออกความคิดเห็น
ประเมินอาจารย์ อธิบายเนื้อหาที่เรียนได้หลากหลาย ช่วนให้คิดเพิ่มเติมได้มากขึ้นพร้อมสร้างความเข้าใจได้ดี
ข้อคิดเห็น
บรรยากาศในห้องเรียนเหมาะสมเอื้อต่อการเรียนการสอน การถาม-ตอบอาจารย์ต่อนักศึกษา
และทำความเข้าใจไปพร้อมกันสิ่งหนึ่งที่เป็นจุดเด่นของวิชาคือการที่อาจาร์ฝึกให้แสดงจุดยืนเราว่า
เรามีความคิดเห็นกับเพื่อนหรือไม่ มากน้อยแค่ไหน ความคิดเห็นระหว่างกันภายในห้องที่มีส่วนร่วมและร่วมมือต่อกันเพียงใด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น